5.21.2009

นานาสาระกับ Virtual Private Network

นานาสาระกับ Virtual Private Network

อินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นเครือข่ายสื่อสารแบบ WAN ที่มีค่าใช้จ่ายต่ำกว่าและมีพื้นที่ครอบคลุมทั่วโลกมากกว่าการใช้สีสไลน์, เฟรมรีเลย์ หรือ ATM แต่ไม่สามารถประกันด้านความปลอดภัย, แบนด์วิดธ์ หรือ Quality of Service (QoS) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบไพรเวตเน็ตเวิร์ก อีกทั้งระบบอินเทอร์เน็ตยังสนับสนุนเฉพาะโพรโตคอล TCP/IP เพียงอย่างเดียว ในขณะที่เครือข่ายส่วนใหญ่มักประกอบด้วยโพรโตคอลต่าง ๆ มากมาย ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISO) ที่สนับสนุนหลากหลายโพรโตคอลของไพรเวตเน็ตเวิร์กในราคาที่ไม่แพงและมีบริการครอบคลุมเช่นเดียวกับอินเทอร์เน็ต ให้บริการในชื่อของเวอร์ชวลไพรเวตเน็ตเวิร์ก (Virtual Private Network - VPN) หรือเอ็กซ์ทราเน็ต ในปัจจุบันเทคโนโลยีนี้ถูกพิจารณาให้เป็นจุดเริ่มต้นของการขยายสู่ไพรเวตเน็ตเวิร์กสำหรับการเชื่อมต่อโดยการหมุนโทรศัพท์ แต่การเชื่อมต่อระหว่างคู่ค้าธุรกิจและลูกค้าก็เป็นจุดสำคัญอีกจุดหนึ่งในการประยุกต์ใช้ และส่วนที่สำคัญอีกส่วนหนึ่งคือ VPN อาจต้องใช้ในพื้นที่ที่การเชื่อมต่อไพรเวตเน็ตเวิร์กทำได้ แต่ไม่คุ้มค่า ทำให้ผู้ผลิตและผู้ให้บริการบางราย ได้มีการพูดคุยกันมากขึ้นถึงแนวความคิดในการใช้ VPN แทนเครือข่ายส่วนตัวที่มีอยู่แล้ว
VPN ทำงานอย่างไร


สถาปัตยกรรมหลักในการทำทันแนล (tunnel) มีสองแบบคือ client-initiated กับ client-transparent โดยการทำทันแนลแบบ client-initiated ต้องการทันแนลซอฟต์แวร์ทั้งฝั่งไคลเอ็นต์ และฝั่งเซิร์ฟเวอร์ (หรือเกตเวย์) ส่วนการทำทันแนลแบบ client-transparent โดยทั่วไปจะทำอยู่ที่ไซต์ส่วนกลางขององค์กร หรือทำให้อยู่ที่จุดเชื่อมต่อของ ISP ซึ่งให้บริการแก่ไซต์ส่วนกลางขององค์กรก็ได้ ด้วยการใช้ไคลเอ็นต์ซอฟต์แวร์ และทันแนลเซิร์ฟเวอร์ที่ไซต์ส่วนกลางขององค์กร ทำให้ ISP ไม่จำเป็นต้องสนับสนุนการทำทันแนลแต่อย่างใด โดยไคลเอ็นต์ซอฟต์แวร์ และทันแนลเซิร์ฟเวอร์จะเริ่มสร้างทันแนล


ต่อจากนั้นจะตรวจสอบโดยใช้หมายเลขยูสเซอร์และรหัสผ่าน ในการติดต่อขั้นนี้ก็สามารถเข้ารหัสได้ เมื่อเชื่อมต่อเรียบร้อยแล้วการติดต่อสื่อสารสามารถทำได้โดยเสมือนว่าไม่มี ISP เป็นตัวเชื่อมการติดต่อ
อีกวิธีหนึ่งหากต้องการเชื่อมต่อแบบทรานส์พาเรนต์ผ่านไปยังไคลเอ็นต์ที่จุดเชื่อมต่อของ ISP จำเป็นต้องมีทันแนลอีนาเบิลแอคเซสเซิร์ฟเวอร์ (tunnel-enabled access server) และบางทีอาจรวมไปถึงเราท์เตอร์ด้วย เริ่มจากไคลเอ็นต์หมุนโทรศัพท์ไปยังแอคเซสเซิร์ฟเวอร์ (โดยแอคเซสเซิร์ฟเวอร์สามารถแยกแยะโดยใช้หมายเลขยูสเซอร์ หรือให้ยูสเซอร์เลือกจากเมนู) เพื่อเชื่อมต่อแบบทันแนลไปยังปลายทาง หลังจากนั้นแอคเซสเซิร์ฟเวอร์จะสร้างการเชื่อมต่อแบบทันแนลกับทันแนลเซิร์ฟเวอร์แล้ว ตรวจสอบโดยใช้รหัสผ่าน แล้วไคลเอ็นต์ก็สามารถสร้างเซลชันโดยตรงกับทันแนลเซิร์ฟเวอร์ผ่านทางทันแนลดังกล่าว เสมือนว่าทั้งสองเชื่อมต่อกันโดยตรง ในขณะที่วิธีนี้มีข้อได้เปรียบตรงที่ไม่ต้องการซอฟต์แวร์พิเศษบนฝั่งไคลเอ็นต์ แต่ไคลเอ็นต์ต้องหมุนโทรศัพท์ไปยังแอคเซสเซิร์ฟเวอร์ที่กำหนดไว้เท่านั้น
สำหรับสร้างทันแนลที่มีให้เลือกใช้คือ
1. Point-to-Point Tunneling Protocol (PPTP)

2. Layer Two Forwarding (L2F) ประการสำคัญที่แตกต่างกันของสองโพรโตคอลนี้คือ PPTP จะสร้างทันแนลโดยห่อ PPP แพ็กเกตไว้ใน IP ซึ่งเป็นโพรโตคอลที่ทำงานในเลเยอร์ที่สาม ในขณะที่ L2F ทำงานในเลเยอร์ที่สอง โดยใช้พวกเฟรมรีเลย์หรือ ATM ใช้ในการทำทันแนล


PPTP สามารถใช้เป็นแบบ client-initiated (ซึ่งทรานส์พาเรนต์สำหรับ ISP) หรือใช้เป็นแบบ client-transparent ก็ได้ทั้งสองแบบนี้ในปัจจุบันมีใช้เฉพาะในวินโดว์ส NT เท่านั้น ซึ่งต้องการทั้ง NT ไคลเอ็นต์และ NT เซิร์ฟเวอร์ ในทางตรงกันข้าม L2F ต้องการการสนับสนุนในแอคเซสเซิร์ฟเวอร์และในเราท์เตอร์ ดังนั้นในการใช้งาน ISP ต้องสนับสนุน L2F ด้วยระบบการป้องกันของ L2F มีการจัดเตรียมบางอย่างที่ PPTP ไม่มี อย่างเช่น การพิสูจน์ตนหรือออเทนทิเคชันของปลายทั้งสองข้างของทันแนล (แอคเซสเซิร์ฟเวอร์และทันแนลเซิร์ฟเวอร์) เป็นต้น


ข้อได้เปรียบหลักของ PPTP คือสนับสนุนทั้งไคลเอ็นต์ และทันแนลเซิร์ฟเวอร์สำหรับ PPTP มีมาพร้อมกับวินโดว์ส NT 4.0 และในส่วนของวินโดว์ส 95 กำลังอยู่ในช่วงการพัฒนาข้อได้เปรียบอื่น ๆ คือ PPTP สนับสนุนการทำโฟลว์คอนโทรลทำให้ทั้งไคลเอ็นต์และเซิร์ฟเวอร์ปลอดภัยจากเหตุการณ์ข้อมูลโอเวอร์โฟลว์, ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพโดยลดการดรอปแพ็กเกตลง รวมไปถึงการส่งซ้ำด้วย อย่างไรก็ตาม PPTP ก็ยังคงต้องการ IP (แม้ว่าจะสามารถสร้างทันแนลให้แก่ IPX และ NetBEUI ได้เช่นเดียวกับ PPP) และปัจจุบันใน PPTP ยังไม่มีความสามารถออเทนทิเคตของปลายทั้งสองด้านของทันแนลจึงจำเป็นต้องใช้ความสามารถของ PPP ในการตรวจสอบ


การรวมข้อดีของทั้งสองโพรโตคอลเข้าด้วยกันในชื่อ "Layer Two Tunneling Protocol (L2TP)" ซึ่งในด้านการจัดการความปลอดภัยใช้ Secure IP หรือ IPSEC เป็นพื้นฐานในการเข้ารหัสในการเชื่อมต่อระหว่างปลายทั้งสองของ L2TP (มาตรฐานการเข้ารหัสยังไม่มีใน PPTP หรือใน L2F) นอกจากนั้น L2TP ยังสนับสนุนการทำทันแนลหลาย ๆ อันพร้อมกันบนไคลเอ็นต์เพียงตัวเดียว ซึ่งคุณสมบัตินี้ยิ่งทวีความสำคัญมากขึ้นในอนาคต เมื่อทันแนลสามารถสนับสนุนการจองแบนด์วิดธ์และ QoS


อีกทางเลือกหนึ่งของ PPTPและ L2F คือ SOCKS ซึ่งเป็นโพรโตคอลใช้ในการตรวจสอบข้อมูลที่ผ่านไฟร์วอลล์ ที่อนุญาตให้สายของข้อมูลไหลผ่านไฟร์วอลล์โดยขึ้นอยู่กับการตรวจสอบยูสเซอร์แทนการตรวจสอบ IP แพ็กเกต


ข้อได้เปรียบของ SOCKS เมื่อเทียบกับวิธีอื่นคือ SOCKS สนับสนุนทั้งยูนิกซ์และ NT นอกจากนั้น ยังมีปลั๊กอินที่สนับสนุนการเข้ารหัสและการจัดการหลายรูปแบบ อีกทั้งมีสถาปัตยกรรมความปลอดภัยแบบทางเดียว ซึ่งอนุญาตให้คุณทำทันแนลไปยังเครือข่ายอื่นได้ในขณะที่ลดการถูกโจมตีกลับจากเครือข่ายนั้น การทำงานของ SOCKS นั้นทำงานในระดับ TCP ทำให้ง่ายต่อการสร้างแอพพลิเคชัน เพื่อเชื่อมต่อแบบทันแนลผ่านทางพอร์ตของ TCP ที่กำหนด


ไพร์วอลล์ใด ๆ ก็ตามสามารถกำหนดให้ส่งผ่านทราฟฟิกของ SOCKS แบบทรานส์พาเรนต์ได้
เชื่อมต่อกับคู่ค้าด้วย VPN


ข้อได้เปรียบอีกอย่างหนึ่งของการใช้บริการ VPN บนอินเทอร์เน็ตคือ แทนที่จะใช้โมเด็มเชื่อมต่อตรงผ่านทางสายเช่าไปยังบริษัทคู่ค้าหรือลูกค้า คุณสามารถใช้ระบบอินเทอร์เน็ตที่คุณมีอยู่ส่งผ่านทราฟฟิกของ VPN ไปยังคู่ค้าหรือลูกค้าของคุณ


สำหรับทราฟฟิกภายในบริษัทแล้ว VPN ไม่มีข้อได้เปรียบด้านค่าใช้จ่าย เมื่อเทียบกับเฟรมรีเลย์หรือบริการที่เทียบเท่า เพราะว่าค่าใช้จ่ายจากโครงสร้างพื้นฐานทางด้านโทรคมนาคมทั้งสองมีค่าใช้จ่ายพอ ๆ กัน แต่ส่วนที่แตกต่างจะอยู่ที่การคิดค่าบริการจาก ISP ซึ่งขึ้นอยู่กับบริการที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงความน่าเชื่อถือ และคุณภาพของบริการ

VPN แบบหลายผู้ให้บริการ

เมื่อโพรโตคอล IPSEC, L2TP และ SOCKS สมบูรณ์ ISP ก็สามารถเชื่อมต่อแบบทันแนลได้ง่ายขึ้น เพราะมีข้อตกลงในการเชื่อมต่อที่แน่นอนทำให้มั่นใจในเรื่องความสามารถในการใช้งานได้ และ QoS นอกจากนั้น ISP ยังสามารถให้บริการ VPN ที่ครอบคลุมหลาย ๆ ผู้ให้บริการ และยังรับประกันการบริการได้เช่นเดียวการให้บริการจากผู้ให้บริการ VPN เพียงรายเดียว

นั่นคือในระหว่างนี้องค์กรสามารถใช้ VPN ของตัวเองได้จากหลาย ๆ ISP โดยมีการรับประกันการบริการจาก ISP แต่ละราย ดังตัวอย่างเช่น
- เซตอัพทันแนลแบบ Client-initiated ผ่านทางหลาย ๆ ISP
- เข้ารหัสทันแนลเหล่านั้น
- ใช้ระบบดิจิตอลคีย์สำหรับการตรวจสอบ
- ตั้งค่าเราท์เตอร์และไฟร์วอลล์เพื่อป้องกันยูสเซอร์ที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้ามาในระบบ


สามารถใช้ความสามารถของ PPTP ในวินโดว์ส NT ทั้งการสร้าง และเป็นปลายทาง (เทอร์มิเนต) แก่ทันแนลต่าง ๆ กับหลายผู้ให้บริการ หรือในทางกลับกัน เพียงแค่ทำหน้าที่เป็นปลายทางแก่ทันแนลโดยใช้ NT และปล่อยให้ ISP จัดการสร้างทันแนลเองหากต้องการ

นอกจากนั้นยังสามารถใช้ระบบ MobileVPN หรือ PartnerVPN ในการสร้างทันแนลแบบ Client-intiated ผ่านโพรโตคอล SOCKS โดยที่ MobileVPN สามารถเชื่อมต่อระหว่างหนึ่งไคลเอ็นต์ของวินโดว์สหรือยูนิกซ์ไปยังยูนิกซ์หรือ NT เซิร์ฟเวอร์ที่อยู่หลังไฟร์วอลล์ในไซต์กลางของบริษัท ส่วนในระบบ PartnerVPN จะใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่าย LAN สองเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยสร้างทันแนลระหว่างโฮสต์ยูนิกซ์หรือ NT เซิร์ฟเวอร์ของทั้งสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน ซึ่งทำงานแบบไคลเอ็นต์/เซิร์ฟเวอร์
อย่างไรก็ตามสำหรับ VPN ที่ทำงานอยู่บนอินเทอร์เน็ต เมื่อเทียบกับพื้นที่ที่ครอบคลุม, ความปลอดภัย และเครือข่ายข้อมูลที่มีคุณภาพสูง ซึ่งสามารถป้องกันการโจมตีในรูปแบบต่าง ๆ ได้ดีกว่าการใช้ไพรเวตเน็ตเวิร์ก (ยกเว้นการโจมตีที่มุ่งทำลายเซอร์วิส และการ ping ที่มีความยาวผิดปกติ) ดังนั้นเราจึงต้องหาจุดสมดุลที่คุ้มค่าที่สุดระหว่างพื้นที่ครอบคลุม, ความปลอดภัย, คุณภาพ, และค่าใช้จ่าย โดยต้องพิจารณาจากความหลากหลายของบริการและตัวระบบที่ยิ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงซับซ้อนยิ่งขึ้น


เรียบเรียงโดย : ชัยรัตน์ โล้วโสภณกุล
ที่มา : นิตยสาร BYTE

5.14.2009

การต่อเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์

การต่อเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์

หากผู้ใช้มีความคิดที่จะนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาต่อเป็นระบบ โดยใช้ขีดความสามารถเดิมที่มีอยู่ สามารถทำได้ด้วยวิธีการง่าย ๆ ดังนี้

1) การต่อเชื่อมผ่านช่องทาง COM1 COM2 และ LPT
เป็นวิธีที่นำคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ต่อผ่านช่องทาง COM1 หรือ COM2 เพื่อการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างนั้น ในกรณีนี้ใช้โปรแกรมอรรกประโยชน์ (utility program) บางตัวก็สามารถสำเนาแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน หรือส่งออกไปยังเครื่องพิมพ์ร่วมกันได้ รูปแบบการต่อระบบโดยอาศัย COM1 COM2 และ LPT แสดงดังรูป

การต่อในลักษณะนี้ใช้ช่องทาง RS232 และมีการส่งข้อมูลแบบอนุกรม ปัจจุบันสามารถทำการรับส่งข้อมูลถึงกันได้เร็วถึง 38.4 กิโลบิตต่อวินาที การจัดการระบบง่าย ๆ นี้ไม่จำเป็นต้องลงทุนอะไรมาก แต่ประโยชน์ที่ได้จะอยู่ในวงจำกัด โดยเฉพาะในเรื่องการโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน

2) การต่อเชื่อมเข้ากับบัฟเฟอร์เครื่องพิมพ์
การแบ่งกันใช้เครื่องพิมพ์เป็นวิธีการใช้ทรัพยากรเครื่องพิมพ์ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น การใช้เครื่องพิมพ์ที่มีราคาแพง มีคุณภาพดี เช่น เครื่องพิมพ์ความเร็วสูง เครื่องพิมพ์เลเซอร์ เครื่องพิมพ์ที่พิมพ์สีได้ เป็นต้น การใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกันวิธีหนึ่งก็คือ การต่อเข้ากับบัฟเฟอร์ของเครื่องพิมพ์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ส่งมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง แล้วจัดการส่งงานทยอยพิมพ์เรียงกันไป เครื่องพิมพ์ที่ต่อกับบัฟเฟอร์จะต่อผ่านช่องทางขนานเหมือนการต่อทั่วไป อย่างไรก็ดี บัฟเฟอร์ของเครื่องพิมพ์บางรุ่นสามารถต่อกับเครื่องพิมพ์ได้หลายเครื่อง


3) การเชื่อมต่อโดยใช้ระบบสลับสายข้อมูล
เป็นวิธีการต่อขยายระบบโดยใช้ระบบง่าย ๆ ที่ใช้มือช่วย ระบบสลับสายข้อมูลทำหน้าที่เหมือนชุมสายโทรศัพท์ระบบเก่า ที่ต้องมีพนักงานรับโทรศัพท์คอยสลับสายให้ใช้งานตามความต้องการ เช่น ใช้สายยูทีพี โดยให้หัวต่อเป็นแบบ RJ45 การสลับสายจะเชื่อมตัวระหว่างหัวต่อ RJ45 ที่มารวมกันไว้อยู่บนแผงร่วมกัน ส่วนของแผงนี้จะเป็นเสมือนส่วนที่รวมสาย

เพื่อการเชื่อมโยงจากต้นทางไปยังปลายทางตามข้อกำหนดที่ต้องการ
ตัวอย่างการต่อเชื่อมเครือข่ายโดยใช้ระบบสลับสายข้อมูล

ปัจจุบันมีแผงสลับสายข้อมูลให้ผู้ใช้เลือกใช้ทั้งอีเธอร์เน็ตแบบเท็นเบสที หรือแบบอนุกรมผ่านช่องทาง RS232 การใช้ระบบสลับสายข้อมูลเป็นการเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบง่าย ๆ แต่สามารถปรับเปลี่ยนระบบได้อย่างรวดเร็วและสะดวกต่อการใช้งาน

4) การเชื่อมต่อผ่านระบบผู้ใช้หลายคนหลายช่องทาง
ระบบผู้ใช้หลายคนขนาดเล็กที่อยู่บนไมโครคอมพิวเตอร์มีหลายระบบ เช่น ระบบยูนิกซ์ ระบบเอสซีโอ ระบบดังกล่าวสามารถต่อเชื่อมขยายเข้ากับสถานีย่อยได้มาก เป็นระบบที่ใช้งานร่วมกันได้ในราคาประหยัด มีซอฟต์แวร์สนับสนุนอยู่มากเช่น ระบบจัดการฐานข้อมูลที่มีระบบรักษาความปลอดภัย ข้อเด่นของระบบผู้ใช้หลายคนในเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีที่เห็นได้ชัด ได้แก่ ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์ ซึ่งเป็นระบบที่ให้ผู้ใช้งานพร้อมกันได้หลายคน หลายงาน มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์และซอฟต์แวร์ระบบสื่อสารไว้มาก มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี มีการต่อช่องทางเข้าออกไปได้หลายแบบ เช่น แบบเป็นสถานีปลายทาง RS232 ผ่านทางเส้นใยนำแสง อีกทั้งมีระบบเครือข่ายท้องถิ่นที่เชื่อมต่อตามมาตรฐานสากล ทำให้การทำงานของระบบประสบผลสำเร็จ

รวบรวมจาก หนังสือเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ช 0249 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมารสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

5.13.2009

เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

เครือข่ายคอมพิวเตอร์[computer network]
สิ่งที่เป็นปัจจัยหลักในการมีเครือข่าย คือ ต้องการที่จะใช้ ทรัพยากร ร่วมกัน เช่น ฮาร์ดแวร์,ซอฟแวร์, peoplewear, ข้อมูล เป็นต้น

การเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย
การเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครื่อข่าย มี 2 ทาง คือ

1.ทางกายภาพ (เห็นได้ชัดเจนที่สุด)
-การเชื่อมต่อผ่านระบบโทรศัพท์ คือ การส่งผ่านทางสายโทรศัพท์แล้วส่งต่อไปยังโมเด็มจากนั้นจึงจะถูกส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
-การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายท้องถิ่น คือ การเชื่อมต่อระบบ LAN โดยมีตัวเชื่อมต่อแบบ
Hub ( การเชื่อมต่อโดยใช้สาย) และSwitch ( การเชื่อมต่อข้อมูลไม่ชนกันเพราะมีการสลับสวิตซ์)
-การเชื่อมต่อเครือข่ายท้องถิ่นเป็นเครือข่ายระยะไกล คือ การเชื่อมต่อโดยใช้ลักษณะ จุดต่อจุด มีศูนย์กลางและเชื่อมเครือข่ายที่เหลือกับศูนย์กลาง
เครือข่ายดิจิตอลความเร็วสูง
-ADSL ดาวน์โหลด ไม่เท่ากับ อัพโหลด
-SDSL ดาวน์โหลด เท่ากับ อัพโหลด

2.ทางซอฟแวร์
ติดตั้งสําหรับสื่อสารข้อมูลกําหนดรูปแบบและวิธีการในการสื่อสารข้อมูล เรียกว่าโพรโตคอล (Protocol)

เครือข่าย Internet
TCP สร้างการติดต่อและควบคุมการสื่อสารระหว่างโปรแกรมที่ขอใช้บริการและให้บริการ
IP ส่งข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง

ตําแหน่งของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย Internet
-เป็นเลขฐานสองขนาด 32 บิต เรียกว่าเฉพาะว่า IP Address
-แบ่งออกเป็น 4 ชุด ชุดละ 8 บิต
-กําหนดขอบเขตของเครือข่ายและสัมพันธ์กับ Class ของ IP Address
-ใช้ในการทดสอบว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางและปลายทางอยู่ในเครือข่ายเดียวกันหรือไม่

การติดต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางต้องรู้ IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง
และเส้นทางประจําเครือข่ายหรือ Default Gateway ของเครือข่ายเสมอ

วิธีการส่งข้อมูล
-เครื่องในเครือข่ายเดียวกันต้องมีส่วนของหมายเลขเครือข่ายเหมือนกัน
-กรณีที่ไม่เท่ากัน ผู้ส่งจะส่งข้อมูลไปยัง Default Gateway เพื่อให้ Default Gateway เลือกเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางตามความเหมาะสม

ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System : DNS)
-เป็นการจัดกลุ่ม IP Address ของหน่วยงานแต่ละหน่วยงานเข้าด้วยกัน และกําหนดเป็นชื่อขึ้นใช้แทน
มีการจัดโครงสร้างตามลําดับชั้น กําหนดตามลักษณะของหน่วยงานและพื้นที่ทางภูมิศาสตร์

โปรแกรมประยุกต์บนเครือข่าย Internet
เป็นแบบ Client/Server
- Client คือ ลูกข่าย หรือ ผู้ขอใช้บริการ [Localhost]
- Server คือ แม่ข่าย หรือ ผู้ให้บริการ [Remotehost]

Localhost à Remotehost เรียกว่า upload

Remotehost à Localhost เรียกว่า download

โปรแกรม SSH (Secure Shell)
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่เรียกว่า Virtual Terminal ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมข้อมูล หรือทรัพยากรอื่นในเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย

FTP [File Transfer protocol]
คือ การส่งข้อมูลหรือไฟล์ไว้บน sever และดึงข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูลไปยังเครื่องของตนเอง

คุณลักษณะของ SSH
ติดต่อกับผู้ใช้เป็นแบบโต้ตอบ จัดการกับลักษณะเฉพาะของข้อมูล เช่น แฟ้มข้อมูลแบบตัวอักขระ(.txt หรือ .html) และแฟ้มข้อมูลแบบตัวเลขฐานสอง (.com .doc ) รวมถึงมีการควบคุมการเข้าถึงข้อมูล

โปรแกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
คือ การรับส่งจดหมายทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สะดวก รวดเร็ว และไม่มีขีดจำกัดในการส่ง ซึ่งมีความนิยมในการใช้บริการสูง

ข้อดีของ E-mail
-มีประสิทธิภาพ
-กระจายข้อมูลได้
-ส่งต่อง่าย
-ส่งได้รวดเร็ว

ข้อเสียของ E-mail
- มีการรับ-ส่งมาก
- ได้รับจดหมายที่ไม่พึงประสงค์

มารยาทในการใช้ E-mail
- อย่าส่งข้อมูลที่เป็นความลับ
- ไม่ใช้ข้อความที่หยาบคาย
- ไม่ใช้ข้อความแสดงอารมณ์
- ให้ใช้อักษรทั้งตัวเล็กและตัวใหญ่ผสมกัน
- ห้ามใช้ตัวหนาหรือขีดเส้นใต้
- อ่านข้อมูลในจดหมายโดยละเอียดก่อนส่ง
- ลงชื่อท้ายข้อความในจดหมายทุกครั้ง

บริการเวิลด์ไวด์เว็บ
คือ เอกสารจํานวนมาก แต่ละหน้าเรียกว่าเอกสารเว็บ (Web Page)

การทำงานของ www
เครื่องคอมพิวเตอร์ Client มีโปรแกรม Browser และติดต่อไปยังเครื่อง Server ที่runโปรแกรม Web Server จากนั้นผู้ใช้กำหนดURL ลงบน Browser แล้ว Browser จะส่งคำร้องขอ (request) ไปยัง Web Server เมื่อได้รับ ก็จะส่งข้อมูลกลับมา (respond) ให้กับ Browser

** โพรโตคอลหลักที่ทำหน้าที่ในลักษณะ request-respond เรียกว่า HTTP

domain name
หมายถึง ชื่อเครื่องให้บริการบน Internet เช่น www.buu.ac.th

directory path / file name
หมายถึง การระบุชื่อแฟ้มข้อมูล และ path ไปยังแฟ้มข้อมูล

ผู้ให้บริการเว็บ
การจัดเก็บ URL ต่าง ๆ ที่เราสนใจไว้ เพื่อเป็นทางลัดและเกิดความสะดวกในการเรียกใช้งานหน้าเว็บเพจในภายหลังโดยไม่ต้องจดจำ URL ของเว็บเพจนั้น ๆ

คุณสมบัติ Favorites
คือ โปรแกรมที่ทําหน้าเพื่อให้บริการ เมื่อได้รับการเชื่อมต่อและชื่อแฟ้มเอกสารเว็บจากผู้ใช้บริการ จะทําการค้นแฟ้มและส่งเอกสาร HTMLไปยังผู้รับบริการจากนั้นจึงทําการส่งแฟ้มอื่นๆที่มีการอ้างอิงถึงในเอกสารเว็บไปยังผู้ขอใช้บริการ

การสืบค้นข้อมูลในเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ
เป็นโปรแกรมที่ทำงานอยู่บนเว็บไซต์ใดๆ มีหน้าที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลต่างๆ บน WWW

5.12.2009

Basic hardware components

Basic hardware components

All networks are made up of basic hardware building blocks to interconnect network
nodes, such as Network Interface Cards (NICs), Bridges, Hubs, Switches, and Routers. In addition, some method of connecting these building blocks is required, usually in the form of galvanic cable (most commonly Category 5 cable). Less common are microwave links (as in IEEE 802.12) or optical cable ("optical fiber"). An ethernet card may also be required.

Network interface cards
Main article:
Network card

A network card, network adapter or NIC (network interface card) is a piece of computer hardware designed to allow computers to communicate over a computer network. It provides physical access to a networking medium and often provides a low-level addressing system through the use of MAC addresses.

Repeaters
Main article:
Repeater
A repeater is an electronic device that receives a signal and retransmits it at a higher power level, or to the other side of an obstruction, so that the signal can cover longer distances without degradation. In most twisted pair Ethernet configurations, repeaters are required for cable which runs longer than 100 meters.

Hubs
Main article:
Network hub
A hub contains multiple ports. When a packet arrives at one port, it is copied unmodified to all ports of the hub for transmission. The destination address in the frame is not changed to a broadcast address.

Bridges
Main article:
Network bridge
A network bridge connects multiple network segments at the data link layer
(layer 2) of the OSI model. Bridges do not promiscuously copy traffic to all ports, as hubs do, but learn which MAC addresses are reachable through specific ports. Once the bridge associates a port and an address, it will send traffic for that address only to that port. Bridges do send broadcasts to all ports except the one on which the broadcast was received.

Bridges learn the association of ports and addresses by examining the source address of frames that it sees on various ports. Once a frame arrives through a port, its source address is stored and the bridge assumes that MAC address is associated with that port. The first time that a previously unknown destination address is seen, the bridge will forward the frame to all ports other than the one on which the frame arrived.


Bridges come in three basic types:
Local bridges: Directly connect local area networks (LANs)
Remote bridges: Can be used to create a wide area network (WAN) link between LANs. Remote bridges, where the connecting link is slower than the end networks, largely have been replaced by routers.
Wireless bridges: Can be used to join LANs or connect remote stations to LANs.

Switches
Main article:
Network switch
A switch is a device that forwards and filters OSI layer 2 datagrams (chunk of data communication) between ports (connected cables) based on the MAC addresses in the packets. This is distinct from a hub in that it only forwards the packets to the ports involved in the communications rather than all ports connected. Strictly speaking, a switch is not capable of routing traffic based on IP address (OSI Layer 3) which is necessary for communicating between network segments or within a large or complex LAN. Some switches are capable of routing based on IP addresses but are still called switches as a marketing term. A switch normally has numerous ports, with the intention being that most or all of the network is connected directly to the switch, or another switch that is in turn connected to a switch.

Switch is a marketing term that encompasses routers and bridges, as well as devices that may distribute traffic on load or by application content (e.g., a Web URL identifier). Switches may operate at one or more OSI model layers, including physical, data link, network, or transport (i.e., end-to-end). A device that operates simultaneously at more than one of these layers is called a multilayer switch.

Overemphasizing the ill-defined term "switch" often leads to confusion when first trying to understand networking. Many experienced network designers and operators recommend starting with the logic of devices dealing with only one protocol level, not all of which are covered by OSI. Multilayer device selection is an advanced topic that may lead to selecting particular implementations, but multilayer switching is simply not a real-world design concept.

Routers
Main article:
Router
Routers are networking devices that forward data packets between networks using headers and forwarding tables to determine the best path to forward the packets. Routers work at the network layer.

5.11.2009

ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์

ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ความแตกต่างจากขนาดของเครื่อง ความเร็วในการประมวลผล รวมทั้งราคาเป็นหลัก คือ

ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง แต่จะมีราคาแพงที่สุด รวมทั้งต้องอยู่ทีห้องได้รับการควบคุมอุณหภูมิ และปราศจากฝุ่นละออง ทำให้ต้องเป็นองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น จึงสามารถจัดหาเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาใช้งานได้ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้จำนวนหลาย ๆ คน นำมาใช้ในการคำนวณที่ซับซ้อน เช่นการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ การบิน อุตสาหกรรมน้ำมันเป็นต้น รวมทั้งพบมากในวงการวิจัยในห้องปฎิบัติการต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน

ซูเปอร์คอมพิวเตอร์รุ่นแรกสร้างในปี ค.ศ 1960 ที่องค์กรของสหรัฐอเมริกา โดยได้รับการออกแบบให้เป็นคอมพิวเตอร์ที่ความเร็วและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซูเปอร์ทำงานได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีการใช้หลักทีเรียกว่า มัลติโปรเซสซิ่ง (Multiprocessing) อันเป็นใช้หน่วยประมวลผลจำนวนหลายตัว เพื่อทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานหลายงานพร้อมกัน โดยที่งานเหล่านั้นมีความแตกต่างกัน งานที่ไม่เกี่ยวข้อง หรืออาจจะเป็นงานที่มีขนาดใหญ่ที่ถูกแบ่งย่อยไปในประมวลผลแต่ละตัวก็ทำงานได้ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหน่วยประมวลกลางทั้งหมด 4 ตัว แต่ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีความพัฒนามากจึงทำให้มีหน่วยประมวลผลนับร้อยตัวทำงานพร้อม ๆ กัน

ความเร็วของซูเปอร์คอมพิวเตอร์จะมีการวัดหน่วยเป็น นาโนวินาที (nanosecond) หรือเศษหนึ่งพันล้านวินาที และ จิกะฟลอป (gigaflop) หรือการคำนวณหนึ่งพันล้านครั้งในหนึ่งวินาทีซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถคำนวณได้ถึง 128 จิกะฟลอป และใช้เครื่องที่มี สายส่งข้อมูล (data bus) กว้าง 32 หรือ 64 บิต
จากคุณสมบัติของซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าผู้ใช้ควรนำซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้ในการคำนวณมากๆ เช่น งานด้านกราฟฟิก หรือการคำนวณทางด้านวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
เมนเฟรม (Mainframe)

เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไป จัดเป็นเครื่องที่มีประสิทธิภาพรองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งในช่วงปลาย ค.ศ 1950 บริษัท IBM จัดเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยเกิดจากการมีส่วนแบ่งตลาดในการขายเครื่องระดับเมนเฟรมถึง 2 ใน 3 ของผู้ใช้เครื่องเมนเฟรอทั้งหมด เครื่องเมนเฟรมจะเป็นเครื่องที่มีขนาดใหญ่ ต้องอยู่ในห้องที่ได้รับการอุณหภูมิ และปราศจากฝุ่นละอองเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์

เครื่องเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ เครื่องรุ่นใหม่ ๆ จะได้การพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทำงานพร้อม ๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่มีจำนวณประมวลผลน้อยกว่า หน่วยเมนเฟรมจัดอยู่ในความเร็วของหน่วย เมกะฟรอป (megaflop) หรือการคำนวณหนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที

ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรม ส่วนมากจะมีหน่วยคอมพิวเตอร์ย่อยๆ ประกอบอยู่ด้วย เพื่อช่วยในการทำงานบางประเภทให้กับเครื่องหลัก สามารถแยกตามหน้าที่ได้ดังนี้
Host processor เป็นเครื่องหลักทำหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการคำนวณต่างๆ

Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้งานที่เรียกว่า จอเทอร์มินัลระยะไกล (remote terminal) กับระบบคอมพิวเตอร์หลัก
Bank-end processor มีหน้าทีจัดการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล
โปรเซสเซอร์ส่วนต่าง ๆ บนเมนเฟรม

ระบบคอมพิวเตอร์ของเตรื่องเมนเฟรม มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะรองรับผู้ใช้ได้หลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ซึ่งผู้ใช้เหล่านั้นอาจจะนั่งทำงานอยู่ใกล้เครื่องเมนเฟรม หรืออาจจะอยู่ที่อื่นซึ่งไหลออกไปก็ได้ เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้ในหน่วยความจำหลัก และมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทซ์การทำงานระหว่างโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านั้นอย่างรวดเร็ว โดยที่ผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่ามีการสับเปลี่ยนการทำงานไปทำงานของคนอื่นอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วกว่ามนุษย์มาก หลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กันนั้น เรียกว่า มัลติโปรแกรมมิง (multiprogramming)
มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)

เริ่มพัฒนาขึ้นใน ค.ศ 1960 ต่อมาจากบริษัท Digital Equipment Corporation หรือ DEC ได้ประกาศตัวมินิคอมพิวเตอร์ DEC POP-8 (Programmed Data Processor) ในปี ค.ศ 1965 ซึ่งได้รับความนิยมจากบริษัทหรือองค์กรที่มีขนาดกลาง เพราะมีราคาถูกกว่าเมนเฟรมมาก เครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะใช้หลักการของมัลติโปรแกรมมิงเช่นเดียวกับเมนเฟรม โดยจะสามารถรองรับผู้ใช้ได้ประมาณ 200 คนพร้อม ๆ กัน แต่สิ่งที่แตกต่างระหว่างเครื่องเมนเฟรมและเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็คือความเร็วในการทำงาน เนื่องจาก เครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะทำงานได้ช้ากว่าการควบคุมผู้ใช้งานต่าง ๆ การะทำได้ในจำนวนที่น้อยกว่า รวมทั้งสื่อที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ มีความจุไม่สูงเท่าเมนเฟรม ดังนั้นเครื่องมินิคอมพิวเตอร์จึงจัดได้ว่ามินิคอมพิวเตอร์เป็นขนาดกลาง

เวิร์คสเตชัน (Workstation) และไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
ในการทำงานบนเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะสามารถควบคุมการรับข้อมูลและดูการแสดงผลบนจอภาพได้เท่านั้น ไม่สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างอื่น ๆ ได้ แต่การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ชนิดที่มีผู้ใช้คนเดียวนั้น จะทำให้ผู้ใช้สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ ได้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล ตลอดจนหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง นอกจากนี้ ผู้ใช้สามารถเลือกใช้โปรแกรมได้เอง โดยไม่ต้องกังวลว่าจะต้องไปแย่งเวลาการเรียกใช้ข้อมูลกับผู้ใช้อื่น
คอมพิวเตอร์สำหรับผู้ใช้คนเดียว สามารถแบ่งออกเป็น 2 รุ่น คือ

เวิร์คสเตชั่น ถูกออกแบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่มีความสามารถในการคำนวนด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟฟิกต่าง ๆ เช่น การนำมาช่วยออกแบบภาพกราฟฟิกในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อออกแบบชิ้นส่วนใหม่ ๆ เป็นต้น ซึ่งจากการที่ต้องทำงานกราฟฟิกที่มีความละเอียดสูง ทำให้เวิร์คสเตชั่นใช้หน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมูลสำรองจำนวนมากด้วย มีผู้ใช้บางกลุ่มเรียกเครื่องระดับเวิร์คสเตชั่นนี้ว่า ซูเปอร์ไมโคร (supermicro) เพราะออกแบบมาให้ใช้งานแบบตั้งโต๊ะ แต่ชิปที่ใช้ทำงานนั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจาก เวิร์คสเตชั่นส่วนมากใช้ชิปประเภท RISC (reduce instruction set computer) ซึ่งเป็นชิปที่ลดจำนวนคำสั่งที่สามารถใช้สั่งงานให้เหลือเฉพาะที่จำเป็น เพื่อให้สามารถทำงานได้ด้วยความเร็วสูง

ไมโครคอมพิวเตอร์ ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1975 และได้รับความนิยมอย่างเมื่อ IBM ได้สร้างเครื่อง IBM PC ออกมา ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันจะมี 2 ชนิดคือ Apple Macintosh และ IBM PC

ในปัจจุบัน ความแตกต่างหรือช่องว่างระหว่างเครื่องเวิร์คสเตชั่นและเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เริ่มลดน้อยลงเรื่อย ๆ เพราะเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ระดับสูงในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพของเครื่องและความเร็วในการแสดงผลที่ดีกว่าเครื่องเวิร์คสเตชั่นจำนวนมาก

(ก) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (ข) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (ค) มินิคอมพิวเตอร์ (ง) ไมโครคอมพิวเตอร์

นอกจากนี้ ยังมีคอมพิวเตอร์ แบบผู้ใช้คนเดียวที่ได้รับการออกแบบให้สามารถพกพาติดตัวได้สะดวก เช่น คอมพิวเตอร์โน้ตบุค (Notebool computer) คอมพิวเตอร์ปาล์มทอป (Palmtop computer) และ PDA (Personal Digital Assistant) ซึ่งคอมพิวเตอร์เหล่านี้ จัดได้ว่าเป็นเครืองไมโครคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งขนากเล็ก น้ำหนักเบา และมีรูปลักษณ์ที่เหมาะกับการพกพา
(ก) โน้ตบุค (ข) พีดีเอ

คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network computers)
เป็นคอมพิวเตอร์แบบใหม่ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากไมโครคอมพิวเตอร์ โดยได้รับอิทธิพลมาจากแนวคอมพิวเตอร์อินเตอร์เนต คอมพิวเตอร์เครือข่ายหรือที่นิยมเรียกว่า NC จะถูกออกแบบให้เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่ำ ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาน้อย ทำให้เหมาะสมกับการใช้งานปริมาณมาก ๆ ในองค์กรขนาดใหญ่ รวมทั้งการเชื่อมต่ออินเตอร์เนต

คอมพิวเตอร์เครือข่ายจะไม่มีหน่วยเก็บข้อมูลสำรองอยู่ในตัว การจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมตะอยู่เครื่องศูนย์กลาง (Server) ซึ่งมีข้อดีคือการเปลี่ยนรุ่น (upgrade) ซอฟต์แวร์สามารถทำงานได้ง่าย สามารถทำงานจากเครื่องคอมพิวตอร์เครือข่ายเครื่องใดก็ได้ รวมทั้งง่ายต่อการดูแลรักษา (mailtenance) ของผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์เครือข่าย
คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embeddded computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่ถูกฝังไปในอุปกรณ์ ทำให้มองไม่เห็นรูปลักษณ์ภายนอกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ นิยมใช้ในการทำงานเฉพาะด้านโดยควบคุมการทำงานบางอย่าง เช่น เตาอบไมโครเวฟ ระบบการเติมน้ำมัน นาฬิกาข้อมือ อุปกรณ์เล่นเกม เป็นต้น

ที่มา : cptd.chandra.ac.th

5.10.2009

Virtual private network

Virtual private network
Main article:
Virtual Private Network

A virtual private network (VPN) is a computer network in which some of the links between nodes are carried by open connections or virtual circuits in some larger network (e.g., the Internet) instead of by physical wires. The link-layer protocols of the virtual network are said to be tunneled through the larger network when this is the case. One common application is secure communications through the public Internet, but a VPN need not have explicit security features, such as authentication or content encryption. VPNs, for example, can be used to separate the traffic of different user communities over an underlying network with strong security features.

A VPN may have best-effort performance, or may have a defined service level agreement (SLA) between the VPN customer and the VPN service provider. Generally, a VPN has a topology more complex than point-to-point.
A VPN allows computer users to appear to be editing from an IP address location other than the one which connects the actual computer to the Internet

5.09.2009

Intranet

Intranet
Main article:
Intranet

An intranet is a set of networks, using the Internet Protocol and IP-based tools such as web browsers and file transfer applications, that is under the control of a single administrative entity. That administrative entity closes the intranet to all but specific, authorized users. Most commonly, an intranet is the internal network of an organization. A large intranet will typically have at least one web server to provide users with organizational information.

Extranet
Main article:
Extranet

An extranet is a network or internetwork that is limited in scope to a single organization or entity but which also has limited connections to the networks of one or more other usually, but not necessarily, trusted organizations or entities (e.g., a company's customers may be given access to some part of its intranet creating in this way an extranet, while at the same time the customers may not be considered 'trusted' from a security standpoint). Technically, an extranet may also be categorized as a CAN, MAN, WAN, or other type of network, although, by definition, an extranet cannot consist of a single LAN; it must have at least one connection with an external network.

Internet
Main article:
Internet

The Internet is a specific internetwork. It consists of a worldwide interconnection of governmental, academic, public, and private networks based upon the networking technologies of the Internet Protocol Suite. It is the successor of the Advanced Research Projects Agency Network (ARPANET) developed by DARPA of the U.S. Department of Defense. The Internet is also the communications backbone underlying the World Wide Web (WWW). The 'Internet' is most commonly spelled with a capital 'I' as a proper noun, for historical reasons and to distinguish it from other generic internetworks.

Participants in the Internet use a diverse array of methods of several hundred documented, and often standardized, protocols compatible with the
Internet Protocol Suite and an addressing system (IP Addresses) administered by the Internet Assigned Numbers Authority and address registries. Service providers and large enterprises exchange information about the reachability of their address spaces through the Border Gateway Protocol (BGP), forming a redundant worldwide mesh of transmission paths.

5.08.2009

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)

ความหมายของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง การนำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สำคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System)

1. คอมพิวเตอร์แม่ข่าย
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยความจำสำรอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน

2. ช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สำหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนำแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น
ช่องทางการสื่อสารโดยใช้จานรับดาวเทียม

3. สถานีงาน
สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียกสถานีปลายทางว่าเทอร์มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host

4. อุปกรณ์ในเครือข่าย
- การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้

การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย
- โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สำหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทำหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนำเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น

การใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะไกล
- ฮับ ( Hub) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ
ฮับที่ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อและจุดแยกของสาย

5. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทำหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนำโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทำงานในระบบเครือข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสำคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น

5.07.2009

Wide area network

Wide area network
Main article:
Wide Area Network

A wide area network (WAN) is a computer network that covers a broad area (i.e. any network whose communications links cross metropolitan, regional, or national boundaries [1]). Less formally, a WAN is a network that uses routers and public communications links [1]. Contrast with personal area networks (PANs), local area networks (LANs), campus area networks (CANs), or metropolitan area networks (MANs), which are usually limited to a room, building, campus or specific metropolitan area (e.g., a city) respectively. The largest and most well-known example of a WAN is the Internet. A WAN is a data communications network that covers a relatively broad geographic area (i.e. one city to another and one country to another country) and that often uses transmission facilities provided by common carriers, such as telephone companies. WAN technologies generally function at the lower three layers of the OSI reference model: the physical layer, the data link layer, and the network layer.

Global area network
Main article:
IEEE 802.20
A global area networks (GAN) specification is in development by several groups, and there is no common definition. In general, however, a GAN is a model for supporting mobile communications across an arbitrary number of wireless LANs, satellite coverage areas, etc. The key challenge in mobile communications is "handing off" the user communications from one local coverage area to the next. In IEEE Project 802, this involves a succession of terrestrial WIRELESS local area networks (WLAN).

Types of networks

Types of networks
Below is a list of the most common types of computer networks in order of scale.

Personal area network
Main article:
Personal area network

A personal area network (PAN) is a computer network used for communication among computer devices close to one person. Some examples of devices that are used in a PAN are printers, fax machines, telephones, PDAs and scanners. The reach of a PAN is typically about 20-30 feet (approximately 6-9 meters), but this is expected to increase with technology improvements.

Local area network
Main article:
Local area network

A local area network (LAN) is a computer network covering a small physical area, like a home, office, or small group of buildings, such as a school, or an airport. Current wired LANs are most likely to be based on Ethernet technology, although new standards like ITU-T G.hn also provide a way to create a wired LAN using existing home wires (coaxial cables, phone lines and power lines)
For example, a library may have a wired or wireless LAN for users to interconnect local devices (e.g., printers and servers) and to connect to the internet. On a wired LAN, PCs in the library are typically connected by
category 5 (Cat5) cable, running the IEEE 802.3 protocol through a system of interconnected devices and eventually connect to the Internet. The cables to the servers are typically on Cat 5e enhanced cable, which will support IEEE 802.3 at 1 Gbit/s. A wireless LAN may exist using a different IEEE protocol, 802.11b, 802.11g or possibly 802.11n. The staff computers (bright green in the figure) can get to the color printer, checkout records, and the academic network and the Internet. All user computers can get to the Internet and the card catalog. Each workgroup can get to its local printer. Note that the printers are not accessible from outside their workgroup.

Typical library network, in a branching tree topology and controlled access to resources

All interconnected devices must understand the network layer (layer 3), because they are handling multiple subnets (the different colors). Those inside the library, which have only 10/100 Mbit/s Ethernet connections to the user device and a Gigabit Ethernet connection to the central router, could be called "layer 3 switches" because they only have Ethernet interfaces and must understand
IP. It would be more correct to call them access routers, where the router at the top is a distribution router that connects to the Internet and academic networks' customer access routers.

The defining characteristics of LANs, in contrast to WANs (wide area networks), include their higher data transfer rates, smaller geographic range, and lack of a need for leased telecommunication lines. Current Ethernet or other
IEEE 802.3 LAN technologies operate at speeds up to 10 Gbit/s. This is the data transfer rate. IEEE has projects investigating the standardization of 100 Gbit/s, and possibly 400 Gbit/s or over

Tag : http://en.wikipedia.org/wiki

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

โดย minkymonky

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) คือ ระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่องเชื่อมต่อกันโดยใช้สื่อกลาง และสามารถสื่อสารข้อมูลกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่ายร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น การใช้ทรัพยากรเหล่านี้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก เมื่อมีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกล เช่น ระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั่วโลก ก็ทำให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ได้กับคนทั่วโลก โดยใช้แอพพลิเคชั่น เช่น เว็บ อีเมลล์ เป็นต้น

การสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีที่มาจากผู้ที่ต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว คอมพิวเตอร์นั้นเป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถในการประมวลข้อมูลในปริมาณมากได้อย่างรวดเร็ว แต่มีข้อเสียคือ ผู้ใช้ไม่สามารถแชร์ข้อมูลกับคนอื่นๆได้ ดังนั้น ก่อนมีการสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะแลกเปลี่ยนข้อมูลกันโดยการ พิมพ์(print) ข้อมูลออกมาเป็นเอกสารก่อนแล้วค่อยนำไปให้ผู้ใช้ที่ต้องการใช้หรือแก้ไขข้อมูลอีกคนหนึ่ง ซึ่งทำให้เสียเวลาและเป็นวิธีที่ยุ่งยากมากเมื่อเปรียบเทียบกับปัจจุบันที่มีการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์แล้ว

การทำสำเนา(copy) หรือ บันทึก(save) ข้อมูลลงในแผ่นดิสก์(floppy disk) แล้วส่งให้คนอื่นก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่นิยมใช้กันก่อนที่จะมีการสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และนับว่าเป็นวิธีที่เสียเวลาและยุ่งยากน้อยกว่าการส่งเป็นแผ่นกระดาษ เนื่องจากไม่ต้องเสียเวลาในการแปลงข้อมูล เพราะคอมพิวเตอร์สามารถอ่านข้อมูลในแผ่นดิสก์ได้เลย การใช้คอมพิวเตอร์ลักษณะนี้เรียกว่า sneakernet หรือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีคนเป็นสื่อรับส่งข้อมูล การใช้เครือข่ายแบบ sneakernet นี้ ถือว่ายังช้ามากเมื่อเทียบกับความเร็วของคอมพิวเตอร์ อย่างไรก็ตามในปัจจุบันการใช้คอมพิวเตอร์ลักษณะนี้ก็ยังมีการใช้กันอยู่บ้างในองค์กรที่ไม่มีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

การใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กันโดยสายสัญญาณ การถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเครื่องจะเร็วมากเนื่องจากการเดินทางของข้อมูลผ่านสายสัญญาณนี้ จะมีความเร็วเกือบเท่าความเร็วแสง เพราะฉะนั้นถึงแม้ว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะอยู่ห่างกันแค่ไหน การแลกเปลี่ยนข้อมูลก็จะเร็วกว่าการใช้แผ่นดิสก์มาก เครือข่ายแบบนี้ทำให้ผู้ใช้สามารถแชร์ข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
- สามารถแชร์ซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์ได้ เช่น เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
- สามารถรวมการจัดการไว้ในเครื่องที่เป็น server
- สามารถใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์(e-mail) เพื่อติดต่อผู้ที่อยู่ไกลกันได้อย่างรวดเร็ว
- การสนทนาผ่านเครือข่าย(chat)
- การประชุมทางไกล(video conference)
- ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์จำนวนมาก เนื่องจากใช้ร่วมกันได้


องค์ประกอบพื้นฐานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- คอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 เครื่อง
- เน็ตเวิร์คการ์ด(NIC : Network Interface Card)
- สายสัญญาณและอุปกรณ์รับส่งข้อมูล เช่น เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็นต้น
- โปรโตคอล(Protocol) หรือ ภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้สื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- ระบบปฏิบัติการเครือข่าย(NOS : Network Operating System)

5.06.2009

Campus area network

Campus area network
Main article:
Campus area network

A campus area network (CAN) is a computer network made up of an interconnection of local area networks (LANs) within a limited geographical area. It can be considered one form of a metropolitan area network, specific to an academic setting.

In the case of a university campus-based campus area network, the network is likely to link a variety of campus buildings including; academic departments, the university library and student residence halls. A campus area network is larger than a local area network but smaller than a wide area network (WAN) (in some cases).

The main aim of a campus area network is to facilitate students accessing internet and university resources. This is a network that connects two or more LANs but that is limited to a specific and contiguous geographical area such as a college campus, industrial complex, office building, or a military base. A CAN may be considered a type of MAN (metropolitan area network), but is generally limited to a smaller area than a typical MAN. This term is most often used to discuss the implementation of networks for a contiguous area. This should not be confused with a
Controller Area Network. A LAN connects network devices over a relatively short distance. A networked office building, school, or home usually contains a single LAN, though sometimes one building will contain a few small LANs (perhaps one per room), and occasionally a LAN will span a group of nearby buildings. In TCP/IP networking, a LAN is often but not always implemented as a single IP subnet.

Tag :http://en.wikipedia.org/wiki